วัดดอยงำเมือง(ดอยงามเมือง) | ย่านเมืองเก่าเชียงราย.ไทย

วัดดอยงำเมือง(ดอยงามเมือง) | ย่านเมืองเก่าเชียงราย.ไทย

[[{“value”:” ชุมชนราชเดชดำรง     สร้างในสมัยใดไม่ปรากฎหลักฐาน กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถาน เมื่อปี พ.ศ.2478 (ราชกิจจานุเบกษา,8 มีนาคม 2478) ซึ่งได้ระบุความสำคัญว่าเป็นปูชนียสถาน พระยาไชยสงครามราชโอรสพระญามังราย ได้นำพระอัฐิหลังถวายพระเพลิงพระศพพระราชบิดาแล้วได้เสด็จกลับมาครองเมืองเชียงรายมาบรรจุภายในสถูปภายในวัด    ภายหลังได้มีนักวิชาการท้องถิ่น คุณอภิชิต ศิริชัย ได้สืบค้นเอกสารต้นฉบับจากเอกสารท้องถิ่น และเอกสารราชการ เขียนหนังสือเรื่องรู้เรื่องเมืองเชียงราย ในปี พ.ศ.2559 ซึ่งได้เขียนค้นพบทางวิชาการในหนังสือเล่มดังกล่าวซึ่งมีข้อค้นพบใหม่ว่า วัดงำเมือง เดิมชื่อวัดงามเมือง ซึ่งปรากฏหลักฐานการเรียกชื่อวัดจากเอกสารจดหมายเหตุของพระครูปัญญาลังการ อดีตเจ้าอาวาสวัดศรุญเรือง ซึ่งพร้องกับราชกิจจานุเบกษา ประกาศเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2471 เรื่องบำรุงวัดและโรงเรียนในจังหวัดเชียงราย ซึ่งพระวิมาดาเธอ กรมพระสุธาสินีนาฎ และสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากรมขุนอู่ทอง เขตขัติยนารี ได้ประทานเงินบำรุงวัดงามเมือง…

สถูปดอยงำเมือง | ย่านเมืองเก่าเชียงราย.ไทย

สถูปดอยงำเมือง | ย่านเมืองเก่าเชียงราย.ไทย

[[{“value”:” ชุมชนราชเดชดำรง เป็นสถานที่สำคัญที่มีสถูปเจดีย์บรรจุพระอังคารของพ่อขุนเม็งรายมหาราชผู้ก่อตั้งเมืองเชียงราย อยู่ในเขตพื้นที่บริเวณชุมชน เป็นสถานที่ชาวบ้านในชุมชนต่างเคารพและสักการะและเป็นจุดศูนย์รวมของชาวบ้านในการดำเนินกิจกรรมภายในชุมชนในโอกาสต่างๆโดยเฉพาะวันสำคัญทางศาสนาและประเพณีต่าง ๆ The post สถูปดอยงำเมือง appeared first on ย่านเมืองเก่าเชียงราย.ไทย. “}]] ​  Like

คณะประพันธ์เจริญศิลป์ | ย่านเมืองเก่าเชียงราย.ไทย

คณะประพันธ์เจริญศิลป์ | ย่านเมืองเก่าเชียงราย.ไทย

[[{“value”:” ชุมชนดอยทอง คณะลิเกได้มี คณะประพันเจริญศิลป์ และโดยลักษณะของการแสดงลิเกเป็นการร้องรำ และเนื้อเรื่องแบบนิทานพื้นบ้านภาคกลาง และ ละครพื้นบ้าน โดยรับเล่นงานตามงานต่างๆในจังหวัดเชียงราย และจังหวัดใกล้เคียง  คณะลิเกประพันเจริญศิลป์ ถือเป็นคณะลิเกเพียงคณะเดียวในเขตตัวเมืองเชียงราย และมีชื่อเสียงเป็นอย่างมาก โดยมีนายเชื้อ  และ นางฟอง ปัญณกุล เป็นหัวหน้าคณะลิเก มีบุตรสาวและบุตรชายเป็นพระเอกและนางเอก  นอกจากนั้นในเชียงรายยังมีคณะลิเกอีกหนึ่งคณะ คือ คณะซานน้อยวัฒนา ตั้งคณะอยู่ที่บ้านร่องเพี่ยว ตำบลห้วยสัก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย นอกจากนั้นตัวละครและ คณะนักแสดงเป็นชาวบ้านในชุมชนทั้งสามชุมชน ที่มีความสนใจในการแสดงลิเกเข้า มาเรียนรู้การรำร้องลิเก ภายหลังในปี พ.ศ. 2555 คณะได้เลิกกิจการ ผู้คนต่างก็แยกย้ายกันออกไปทำงานต่างๆ คณะลิเกจึงเป็นเพียงมรดกความทรงจำของย่านและเมืองเชียงราย  อาจ  จันทร์ทา อดีตนักแสดงคณะลิเก คณะประพันธ์เจริญศิลป์…

ม่อนเจ้าคุณ TOT | ย่านเมืองเก่าเชียงราย.ไทย

ม่อนเจ้าคุณ TOT | ย่านเมืองเก่าเชียงราย.ไทย

[[{“value”:” ชุมชนดอยทอง ความสำคัญของแหล่งเรียนรู้ ในอดีตเป็นที่ตั้งของบ้านพักของท่านเจ้าคุณราชเดชดำรง(ผล ศรุตานนท์)  ข้าหลวงเมืองเชียงราย และ นายกเทศมนตรีเมืองเชียงรายท่านแรก สมรสกับเจ้าหอมนวล(คุณหญิงราชเดชดำรง) ธิดาของเจ้าหลวงพิริยเทพวงศ์กับชายาคนที่สองชื่อเจ้าแม่บัวไหล มีบุตรธิดา 3 คน คุณผลิ ศรุตานนท์ คุณหวนกลิ่น เดชาติวงศ์ (ศรุตานนท์) คุณเผล็ต ศรุตานนท์ภายหลังลาออกจากตำแหน่งและ และไปดำรงตำแหน่งนายกเทศมนตรีเทศบาลเชียงราย ซึ่งในยุคนั้นศาลาเทศบาลตั้งอยู่บริเวณมุมถนนระหว่างศาลากลางกับจวนผู้ว่า(บริเวณมุมถนนราชเดชดำรงและถนนสุขสถิตปัจจุบันเป็นที่ตั้งของสำนักธนานุบาล โดยปลูกบ้านอยู่บริเวณเนินเตี้ยๆเชิงดอยงำเมืองเป็นบ้านพัก เป็นอาคารขนาดใหญ่ 2 หลัง ชาวบ้านเรียกว่า ม่อนเจ้าคุณ (ปัจจุบันเป็นที่ตั้งของบริษัท โทรคมนาคมแห่งชาติ จำกัด(มหาชน) เชียงราย ในชุมชนราชเดชดำรง ท่านมีบทบาทสำคัญวางรากฐานที่สำคัญในการดำรงชีวติให้กับชาวเชียงรายในทุกด้าน เช่น การศึกษาก่อตั้งโรงเรียนร่วมกับราษฎรประชาชนชาวเชียงราย และใช้ชื่อว่าโรงเรียนดำรงราษฎร์สงเคราะห์ การค้า การคมนาคม การสาธารณสุข รวมทั้งยังเป็นผู้ก่อตั้งโรงไฟฟ้าเป็นครั้งแรกในจังหวัดเชียงราย…

ท่าแพ | ย่านเมืองเก่าเชียงราย.ไทย

ท่าแพ | ย่านเมืองเก่าเชียงราย.ไทย

[[{“value”:” ชุมชนวัดพระแก้ว      ท่าเรือตั้งอยู่บริเวณน้ำกกสายหลักในอดีต มีเกาะอยู่ตรงกลางซึ่งชาวบ้านเรียกว่าเกาะมะตัน ปัจจุบันคือ โรงแรมริเวอร์รี่เชียงราย ในอดีตเป็นบริเวณนี้เป็นสถานที่สำคัญที่ทำให้เศรษฐกิจของเชียงรายขับเคลื่อนและคึกคักเป็นอย่างมากเพราะมีนักท่องเที่ยวมาเที่ยวที่เชียงรายโดยการใช้เรือหรือเรือแพ เมื่อนักท่องเที่ยวเพิ่มมากขึ้นจึงเริ่มมีการเปิดธุรกิจเกสเฮาส์และโรงแรม มีร้านอาหาร ร้านส้มตำ หมูน้ำตกและร้านอาหารต่างๆ อยู่บริเวณท่าเรือแห่งนี้ด้วย โดยลักษณะเรือแพในขณะนั้น จะเป็นแพไม้ไผ่เป็นเรือโดยสารยาวๆ เมื่อมาถึงจุดหมายปลายทางแล้วจะนำไม่ไผ่ไปขาย คนที่มาส่วนใหญ่จะเป็นนักท่องเที่ยวจากจังหวัดเชียงใหม่ และสถานที่แห่งนี้ยังเป็นจุดกำเนิดแรงบันดาลใจในการแต่งเพลงเชียงรายรำลึกที่มีความโด่งดังในปัจจุบันโดยมีการนั่งอยู่ท่าน้ำบริเวณน้ำกกแห่งนี้และนึกถึงคนรักที่ต้องจากกันไปเพราะหน้าที่การงาน ผ่านเงาของพระจันทร์ที่เล็ดลอดผ่านใบไม้บนดอยจำปี The post ท่าแพ appeared first on ย่านเมืองเก่าเชียงราย.ไทย. “}]] ​  Like

โรงไฟฟ้า | ย่านเมืองเก่าเชียงราย.ไทย

โรงไฟฟ้า | ย่านเมืองเก่าเชียงราย.ไทย

[[{“value”:” ชุมชนราชเดชดำรง  ท่านพระยาราชเดชดำรง(ผล ศรุตานนท์) ขณะดำรงตำแหน่งผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย ซึ่งเป็นผู้ที่มีคุณูปการต่อชาวเชียงรายเป็นอย่างมาก ด้วยการทำนุบำรุงท้องถิ่นให้เจริญรุ่งเรืองในด้านต่างๆรวมทั้งเป็นผู้ให้กำเนิดไฟฟ้าในจังหวัดเชียงรายเป็นครั้งแรกโดยท่านได้ก่อตั้งโรงไฟฟ้าเทศบาลเมืองเชียงรายและเปิดให้บริการแก่ประชาชนทั่วไป เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ.2483 ต่อมาได้มีพระราชกฤษฎีกาองค์การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค เมื่อวันที่ 6 มีนาคม 2497 ซึ่งได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการขึ้นมาเพื่อควบคุมและบริหารกิจการไฟฟ้าภายใต้การควบคุมของกรมโยธาเทศบาล กระทรวงมหาดไทย โดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยซึ่งในช่วงนั้นมีการไฟฟ้าที่อยู่ในการกำกับดูแลทั้งสิ้น 107 แห่ง และในจำนวนนี้มีการไฟฟ้าเทศบาลเมืองเชียงรายรวมอยู่ด้วยดังนั้น การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดเชียงราย จึงถือกำเนิดมาจากโรงไฟฟ้าเทศบาลเมืองเชียงราย เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2483 โดยท่านเจ้าพระยาราชเดชดำรง(ผล ศรุตานนท์)อดีตผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงรายได้ก่อตั้งโรงไฟฟ้า เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าที่บริเวณดอยทอง (ที่ตั้งของสถานีวิทยุกรมการรักษาดินแดนจังหวัดเชียงรายในปัจจุบัน) โดยมีอาคารสำนักงานอยู่ที่ด้านข้างโรงเรียนเชียงรายวิทยาคม (อาคารสำนักงานขนส่งจังหวัดเชียงรายเก่าข้างสำนักงานสื่อสารในปัจจุบัน) หลังจากนั้น เมื่อการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเข้ามารับไปดำเนินการ เมื่อ วันที่ 24…

ข่วงหลวง เลี้ยงผีนาค | ย่านเมืองเก่าเชียงราย.ไทย

ข่วงหลวง เลี้ยงผีนาค | ย่านเมืองเก่าเชียงราย.ไทย

[[{“value”:” ชุมชนดอยทอง ข่วงหลวงเลี้ยงผีนาค  ตั้งอยู่เชิงดอยวัดพระธาตุดอยจอมทอง บริเวณถนนไกรสรสิทธิ์ ชุมชนดอยทอง  อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ความสำคัญในฐานะพื้นที่ทางประวัติศาสตร์ของเมืองเชียงราย ถือเป็นพื้นที่ศักดิ์สิทธิ์ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์การบวงสรวงผีนาค ซึ่งถือเป็นเป็นหนึ่งในอารักษ์ ของเมืองเชียงราย นามว่า ขุนสร้อยคอคำ ซึ่งสัมพันธ์กับนิทานนาคสร้างเมืองเชียงรายซึ่งมีเนื้อความเกี่ยวกับพญามังรายสร้างเมืองเชียงราย โดยมีพญานาคมาช่วยสร้าง และหาฤกษ์ในการขุดคูเมือง ทั้งสี่ด้านของเมือง โดยในเรื่องเจี้ยผีนาค ได้กล่าวว่าพญามังรายบรรทมโดยตื่นไม่ทันเวลาฤกษ์ในการขุดคูเมืองก่อนดวงอาทิตย์ขึ้น ส่งผลให้พญานาคขุดคูเมืองเพียงผู้เดียวโดยเสร็จเพียงด้านทิศเหนือของดอยจอมทองติดกับแม่น้ำกก ชาวเชียงรายเรียกถนนเส้นที่เกิดการพัฒนาเป็นถนนในปัจจุบันว่า “กองนาค” (นครินทร์  น้ำใจดี.2565:น.77)   ปรากฏหลักฐานคามสำคัญของพื้นที่ในฐานะพื้นที่ในการประกอบพิธีบวงสรวงผีนาค ครั้งสุดท้ายของเมืองเชียงราย ในปี พ.ศ.2460 เนื่องจากเกิดการแพร่ระบาดของโรคอหิวาตโรค  ซึ่งปรากฏหลักฐ่นความสำคัญของพื้นที่ดังกล่าว จากเอกสารของ แก้วมงคล ชัยสุริยันต์ เรื่องผี ของลานนาไทยโบราณ ซึ่งเขียนเขียนภายหลังการเลี้ยงผีนาค ในปี พ.ศ.2486…

พิพิธภัณฑ์ทหารมณฑลทหารบกที่ 37 (พิพิธภัณฑ์ จอมพล ป.) | ย่านเมืองเก่าเชียงราย.ไทย

พิพิธภัณฑ์ทหารมณฑลทหารบกที่ 37 (พิพิธภัณฑ์ จอมพล ป.) | ย่านเมืองเก่าเชียงราย.ไทย

[[{“value”:” ชุมชนดอยทอง       อาคารพิพิธภัณฑ์ทหารมณฑลทหารบกที่37 ตั้งอยู่ ณ ม่อนจอมพล อยู่กึ่งกลางระหว่างม่อนจอมทองกับม่อนจอมแว่ (ศาลากลางหลังเก่า) บนเนื้อที่ประมาณ 5 ไร่ ประกอบด้วยสองส่วนคือ ส่วนที่เป็นอาคารพิพิธภัณฑ์ทหารมณฑลทหารบกที่37  และส่วนที่เป็นสถานีวิทยุกรมการรักษาดินแดนปัจจุบัน อยู่ในพื้นที่ชุมชนดอยทอง เขตเทศบาลนครเชียงราย        อาคารหลังดังกล่าว สร้างขึ้นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2  เนื่องด้วย จังหวัดเชียงรายเป็นหนึ่งในเส้นทางยุทธศาสตร์ที่สำคัญในการเคลื่อนทัพไปนครเชียงตุง เนื่องจากมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศพม่าที่อำเภอแม่สาย จังหวัดเชียงรายมีการจัดตั้งกองบัญชาการกองทัพพายัพขึ้น มีการสร้างบ้านพักจอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี และผู้บัญชาการทหารสูงสุดในการเดินทางมาตรวจราชการในพื้นที่จังหวัดเชียงราย ภายหลังบ้านหลังนี้ยังถูกใช้เป็นที่ตั้งกอง บัญชาการสนามกองทัพพายัพ จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2489 สงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง อาคารหลังดังกล่าว…

ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติ บ้านท่าอ้อย – ชมคลิป | เที่ยวทุ่งหว้า.ไทย

ผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติ บ้านท่าอ้อย – ชมคลิป | เที่ยวทุ่งหว้า.ไทย

[[{“value”:” “เสน่ห์แห่งธรรมชาติ ความงามที่ไร้สารพิษ” กลุ่มผ้ามัดย้อมสีธรรมชาติ บ้านท่าอ้อยที่อยู่: ต.ทุ่งหว้า อ.ทุ่งหว้า จ.สตูล 91120โทรศัพท์: 083-168-2434Email: d_ng2525@hotmail.comFacebook: มัดย้อมสีธรรมชาติทุ่งหว้า ชุมชนบ้านท่าอ้อย ชุมชนเล็ก ๆ ที่เดิมมีอาชีพหลักคือการกรีดยาง ภายหลังจากเกิด อุทยานธรณีสตูล ชาวบ้านในชุมชนท่าอ้อยอยากสร้างกิจกรรม เพื่อมีส่วนร่วมในเรื่องราวของทางอุทยานธรณี จึงได้เริ่มมีการเรียนรู้เรื่องราว ค้นหาทรัพยากรที่มีอยู่ในท้องถิ่น ก่อให้เกิดประโยชน์ให้ได้มากที่สุด จนได้มาเจอการทำ ผ้ามัดย้อม ที่คนโบราณในท้องถิ่นเคยทำใช้ และได้ศึกษาต้นแบบจาก กลุ่มผ้ามัดย้อม ปันหยาบาติก ในเรื่องของการใช้สีจากธรรมชาติจากดิน ในขณะที่กลุ่มชุมชนบ้านท่าอ้อยมีทรัพยากรเป็นป่าชายเลน จึงริเริ่มนำวัสดุที่ได้จากป่าชายเลนมาทำสี เช่น เปลือกหรือผลต้นตะบูน ใบต้นลำพูทะเล เป็นต้น ทำให้ชาวบ้านมีรายได้เพิ่มขึ้นจากเดิมเป็นอย่างมาก วัสดุหลักที่ใช้ คือ ​ต้นตะบูน ซึ่งผลของต้นตะบูนจะมียางสีขาว เมื่อทำปฏิกิริยาทางเคมีจะเปลี่ยนเป็นสีน้ำตาล สามารถนำไปย้อมสีผ้าได้ ราเฉด แดงงาม…